ตะคริว
คือ การที่มีการหดเกร็งของกล้ามเนื้ออย่างรุนแรงซึ่งอาจเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน
ผู้ที่เป็นตะคริวจะมีอาการคือ
รู้สึกเจ็บปวด ตึงหรือเกร็งกล้ามเนื้อบริเวณที่เป็นตะคริว และไม่สามารถ
ที่จะคลายกล้ามเนื้อที่หดเกร็งได้หรือทำได้อย่างลำบากเป็นเวลานาน โดยทั่วไปตะคริวมักเกิด
ไม่เกินสองนาที แต่อาจมีบางรายเกิดนานได้ถึงห้านาทีหรือนานกว่านั้น ในบางรายอาจเกิดบ่อยจน
ที่จะคลายกล้ามเนื้อที่หดเกร็งได้หรือทำได้อย่างลำบากเป็นเวลานาน โดยทั่วไปตะคริวมักเกิด
ไม่เกินสองนาที แต่อาจมีบางรายเกิดนานได้ถึงห้านาทีหรือนานกว่านั้น ในบางรายอาจเกิดบ่อยจน
ทำให้เกิดความทุกข์ทรมานได้
โดยทั่วไปตะคริวมักเกิดในผู้สูงอายุและเกิดในตอนกลางคืน แต่ก็อาจเกิดในคนอายุน้อยและเกิดได้
โดยทั่วไปตะคริวมักเกิดในผู้สูงอายุและเกิดในตอนกลางคืน แต่ก็อาจเกิดในคนอายุน้อยและเกิดได้
ทุกเวลา
อาการนี้มักจะเกิดขณะออกกำลังกายมากเกินไป หรืออากาศเย็น เช่น ขณะว่ายน้ำ
หรือเมื่อ
ร่างกายสูญเสียน้ำและเกลือแร่เป็นปริมาณมาก เช่น ท้องเสีย อาเจียนอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน ๆ
เหน็ดเหนื่อยจากอากาศร้อนอบอ้าว หรือในบางรายอาจจะเกิดขึ้นในระหว่างหลับก็ได้ถึงแม้จะไม่
ร่างกายสูญเสียน้ำและเกลือแร่เป็นปริมาณมาก เช่น ท้องเสีย อาเจียนอย่างต่อเนื่องเป็นเวลานาน ๆ
เหน็ดเหนื่อยจากอากาศร้อนอบอ้าว หรือในบางรายอาจจะเกิดขึ้นในระหว่างหลับก็ได้ถึงแม้จะไม่
ส่งผลเสียถึงแก่ชีวิต
แต่อาจก่อให้เกิดอันตรายได้ถ้าเกิดระหว่างว่ายน้ำ หรือขับรถ อาจทำให้เกิด
อุบัติเหตุได้
สาเหตุ
สาเหตุการเกิดยังไม่ทราบแน่ชัด มีหลายทฤษฎี อาจเกิดจากการที่เอ็นและกล้ามเนื้อไม่ได้มีการ
ยืดตัวบ่อยๆ ทำให้มีการหดรั้ง เกร็งได้ง่ายเมื่อมีการใช้กล้ามเนื้อนั้นมากเกินไป
นอกจากนั้นยังอาจเกิดจากเซลล์ประสาทและเส้นประสาทที่ควบคุมการหดและคลายตัวของ
กล้ามเนื้อทำงานผิดปกติไป
และประการสุดท้ายอาจเกิดจากการไหลเวียนเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อไม่ดีพอ ซึ่งมักพบในคน
ที่มีโรคที่ทำให้หลอดเลือดตีบ เช่น โรคเบาหวาน เป็นต้น
ตัวกระตุ้นการเกิดตะคริว
ส่วนใหญ่แล้วไม่ค่อยมีสาเหตุ แต่ในผู้ป่วยบางรายอาจเกิดจากยาบางชนิด เช่น ยาขับปัสสาวะ
ยาลดไขมันในเลือด ยาลดความดันโลหิตบางชนิด เป็นต้น
นอกจากนั้นโรคทางกายบางอย่าง เช่น โรคไตวาย โรคเบาหวาน โรคของต่อมธัยรอยด์ ซีสต์
น้ำตาลในเลือดต่ำ โรคพาร์กินสัน ร่างกายขาดสารน้ำและความผิดปกติของเกลือแร่ในร่างกาย ได้แก่
แมกนีเซียม แคลเซียม โปแตสเซียม ยังทำให้เกิดตะคริวขึ้นได้ง่าย
การทำงานมากๆ จนเมื่อยล้า หรือนั่งขดแขนขาอยู่ในท่าใดท่าหนึ่งนานๆ ก็อาจทำให้เกิดตะคริว
ขึ้นได้เช่นกัน เพราะเลือดไม่สามารถไหลเวียนไปเลี้ยงแขนขาได้สะดวก
การรักษา
ถ้าเป็นบ่อยมากควรหาสาเหตุ ตรวจเช็คว่ายาที่รับประทานอยู่เป็นสาเหตุของตะคริวได้หรือไม่
อาจต้องตรวจหาโรคทางกายดังกล่าวแล้ว อย่างไรก็ตามโดยทั่วไปมักไม่ค่อยพบสาเหตุ
การรักษาที่ดีอย่างหนึ่งคือการยืดกล้ามเนื้อที่เกิดตะคริวนั้นให้คลายออกอย่างช้าๆ ตัวอย่างเช่น
ถ้าเกิดตะคริวที่น่องจะทำให้เกิดเกร็งปลายเท้าจิกชี้ลงพื้นดิน ก็ให้ทำการดันปลายเท้าให้กระดก
ขึ้นช้าๆ แต่ห้ามทำการกระตุก กระชากรุนแรงอย่างรวดเร็ว เพราะจะเจ็บปวดจนกล้ามเนื้อฉีกขาดได้
ในรายที่เป็นบ่อยๆ มีการใช้ยาบางอย่าง เช่น ควินินและยาคลายกล้ามเนื้อบางชนิด ซึ่งอาจใช้
ในระยะสั้นๆ เช่น 4-6 สัปดาห์และดูการตอบสนอง แต่ผลการศึกษาถึงประโยชน์ยังไม่ชัดเจนนัก
และอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงได้ในบางราย เช่น เกล็ดเลือดต่ำ เม็ดเลือดขาวต่ำ ตับอักเสบ หูอื้อ
เสียงดังในหู เวียนศีรษะได้ เป็นต้น ดังนั้นโดยทั่วไปมักไม่ค่อยได้ใช้กันทั่วไป
การป้องกัน
1. การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพราะตะคริวมักเกิดในผู้ที่มีร่างกายอ่อนแอ หรือคนที่ขาด
การออกกำลังกายที่ดีพอ
2. การฝึกการยืดกล้ามเนื้อบ่อยๆ อาจลดโอกาสการเกิดตะคริวได้ เช่น ที่น่องอาจทำได้โดยการ
กระดกเท้าขึ้นลง หรือเอามือแตะปลายเท้าขณะเหยียดเข่า ปั่นจักรยานอยู่กับที่ หรือยืนบนส้นเท้า
ห่างผนัง 1 ฟุตแล้วเอามือทาบผนังและค่อยๆ เหยียดแขนออกเพื่อยืดกล้ามเนื้อ ประมาณ 30 วินาที
แล้วทำใหม่ เป็นต้น
3. ถ้าออกกำลังกายหนักควรดื่มน้ำและเกลือแร่ทดแทนให้เพียงพอ
4. ควรพักผ่อนให้เพียงพอ
5. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
6. ผู้สูงอายุควรค่อยๆ ขยับแขนขาช้าๆ และหลีกเลี่ยงอากาศเย็นมากๆ
7. สวมรองเท้าที่พอเหมาะและอาจใส่ถุงเท้าตอนนอนเพื่อป้องกันการเกร็งของเท้า
8. ในรายที่เป็นบ่อยๆ ควรไปพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุและแก้ไข
กินอะไร ไม่เป็น “ตะคริว”
1. ถ้าเป็นตะคริวจากการสูญเสียเกลือแร่ เช่น เกิดจากท้องเดิน อาเจียน เหงื่อออกมาก ควรดื่มน้ำ
เกลือผสมเอง หรือน้ำเกลือแร่
2. รับประทานอาหารที่มีโพแทสเซียมสูง เช่น ทุเรียน มะพร้าว กล้วย ส้ม ฝรั่ง มะม่วง ขนุน ลิ้นจี่
หัวปลี ผักชี ต้นกระเทียม บร็อคโคลี แครอท มันเทศ ผักบุ้ง เห็ดฟาง มะเขือพวง มะเขือเปราะ โหระพา
หอมแดง มะเขือเทศ เป็นต้น
3. อาหารที่อุดมไปด้วยแคลเซียม ได้แก่ นมและผลิตภัณฑ์นม ปลาเล็กปลาน้อยที่รับประทานก้างได้
4. อาหารที่มีวิตามินอี ได้แก่ น้ำมันพืช ถั่วต่างๆ ผักใบเขียว ธัญพืช อาจทำให้เลือดไหลเวียนดีขึ้น
5. ผู้สูงอายุหรือหญิงตั้งครรภ์ที่มักเป็นตะคริวเวลานอน อาจแก้ไขด้วยการรับประทานอาหาร
ประเภทปลา ไข่ ในมื้อเย็น หรือดื่มนมก่อนนอน
ถ้าเป็นบ่อยมากควรหาสาเหตุ ตรวจเช็คว่ายาที่รับประทานอยู่เป็นสาเหตุของตะคริวได้หรือไม่
อาจต้องตรวจหาโรคทางกายดังกล่าวแล้ว อย่างไรก็ตามโดยทั่วไปมักไม่ค่อยพบสาเหตุ
การรักษาที่ดีอย่างหนึ่งคือการยืดกล้ามเนื้อที่เกิดตะคริวนั้นให้คลายออกอย่างช้าๆ ตัวอย่างเช่น
ถ้าเกิดตะคริวที่น่องจะทำให้เกิดเกร็งปลายเท้าจิกชี้ลงพื้นดิน ก็ให้ทำการดันปลายเท้าให้กระดก
ขึ้นช้าๆ แต่ห้ามทำการกระตุก กระชากรุนแรงอย่างรวดเร็ว เพราะจะเจ็บปวดจนกล้ามเนื้อฉีกขาดได้
ในรายที่เป็นบ่อยๆ มีการใช้ยาบางอย่าง เช่น ควินินและยาคลายกล้ามเนื้อบางชนิด ซึ่งอาจใช้
ในระยะสั้นๆ เช่น 4-6 สัปดาห์และดูการตอบสนอง แต่ผลการศึกษาถึงประโยชน์ยังไม่ชัดเจนนัก
และอาจทำให้เกิดผลข้างเคียงได้ในบางราย เช่น เกล็ดเลือดต่ำ เม็ดเลือดขาวต่ำ ตับอักเสบ หูอื้อ
เสียงดังในหู เวียนศีรษะได้ เป็นต้น ดังนั้นโดยทั่วไปมักไม่ค่อยได้ใช้กันทั่วไป
การป้องกัน
1. การออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ เพราะตะคริวมักเกิดในผู้ที่มีร่างกายอ่อนแอ หรือคนที่ขาด
การออกกำลังกายที่ดีพอ
2. การฝึกการยืดกล้ามเนื้อบ่อยๆ อาจลดโอกาสการเกิดตะคริวได้ เช่น ที่น่องอาจทำได้โดยการ
กระดกเท้าขึ้นลง หรือเอามือแตะปลายเท้าขณะเหยียดเข่า ปั่นจักรยานอยู่กับที่ หรือยืนบนส้นเท้า
ห่างผนัง 1 ฟุตแล้วเอามือทาบผนังและค่อยๆ เหยียดแขนออกเพื่อยืดกล้ามเนื้อ ประมาณ 30 วินาที
แล้วทำใหม่ เป็นต้น
3. ถ้าออกกำลังกายหนักควรดื่มน้ำและเกลือแร่ทดแทนให้เพียงพอ
4. ควรพักผ่อนให้เพียงพอ
5. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่
6. ผู้สูงอายุควรค่อยๆ ขยับแขนขาช้าๆ และหลีกเลี่ยงอากาศเย็นมากๆ
7. สวมรองเท้าที่พอเหมาะและอาจใส่ถุงเท้าตอนนอนเพื่อป้องกันการเกร็งของเท้า
8. ในรายที่เป็นบ่อยๆ ควรไปพบแพทย์เพื่อหาสาเหตุและแก้ไข
กินอะไร ไม่เป็น “ตะคริว”
1. ถ้าเป็นตะคริวจากการสูญเสียเกลือแร่ เช่น เกิดจากท้องเดิน อาเจียน เหงื่อออกมาก ควรดื่มน้ำ
เกลือผสมเอง หรือน้ำเกลือแร่
2. รับประทานอาหารที่มีโพแทสเซียมสูง เช่น ทุเรียน มะพร้าว กล้วย ส้ม ฝรั่ง มะม่วง ขนุน ลิ้นจี่
หัวปลี ผักชี ต้นกระเทียม บร็อคโคลี แครอท มันเทศ ผักบุ้ง เห็ดฟาง มะเขือพวง มะเขือเปราะ โหระพา
หอมแดง มะเขือเทศ เป็นต้น
3. อาหารที่อุดมไปด้วยแคลเซียม ได้แก่ นมและผลิตภัณฑ์นม ปลาเล็กปลาน้อยที่รับประทานก้างได้
4. อาหารที่มีวิตามินอี ได้แก่ น้ำมันพืช ถั่วต่างๆ ผักใบเขียว ธัญพืช อาจทำให้เลือดไหลเวียนดีขึ้น
5. ผู้สูงอายุหรือหญิงตั้งครรภ์ที่มักเป็นตะคริวเวลานอน อาจแก้ไขด้วยการรับประทานอาหาร
ประเภทปลา ไข่ ในมื้อเย็น หรือดื่มนมก่อนนอน
ทั้งนี้
ต้องเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายและโรคประจำตัวของ
แต่ละคนด้วย เช่น คนที่เป็นโรคไตก็ควรงดอาหารพวกที่มีโพแทสเซียมสูง เพราะจะทำให้
ไตทำงานหนัก จนเกิดไตวายได้
แต่ละคนด้วย เช่น คนที่เป็นโรคไตก็ควรงดอาหารพวกที่มีโพแทสเซียมสูง เพราะจะทำให้
ไตทำงานหนัก จนเกิดไตวายได้
การช่วยเหลือเบี้องต้น
ในการแก้ไขเพื่อให้อาการเจ็บปวดของตะคริวบรรเทาลงมีหลักการอยู่ว่า
จะต้องเหยียดอวัยวะ
ที่เป็นตะคริวออกก่อนเป็นลำดับแรก จากนั้นค่อย ๆ นวดกล้ามเนื้อ เพื่อคลายการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ
หรือทำให้เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงบริเวณนั้น ๆ ได้ดีขึ้น ซึ่งการช่วยเหลือเบี้องต้นในแต่ละส่วน
ให้ปฏิบัติดังนี้
ตะคริวที่มือ ให้ผู้ช่วยเหลือเหยียดนิ้วมือของผู้ป่วยออกอย่างช้า ๆ แล้วค่อย ๆ นวดมือ และ
นิ้วมือทีละนิ้ว ๆ
ที่เป็นตะคริวออกก่อนเป็นลำดับแรก จากนั้นค่อย ๆ นวดกล้ามเนื้อ เพื่อคลายการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ
หรือทำให้เลือดไหลเวียนไปเลี้ยงบริเวณนั้น ๆ ได้ดีขึ้น ซึ่งการช่วยเหลือเบี้องต้นในแต่ละส่วน
ให้ปฏิบัติดังนี้
ตะคริวที่มือ ให้ผู้ช่วยเหลือเหยียดนิ้วมือของผู้ป่วยออกอย่างช้า ๆ แล้วค่อย ๆ นวดมือ และ
นิ้วมือทีละนิ้ว ๆ
ตะคริวที่กล้ามเนื้อต้นขา ให้ผู้ช่วยเหลือจับขาข้างที่เป็นตะคริวของผู้ป่วย
เหยียดออกและ
ยกขึ้น วางมือข้างหนึ่งไว้ใต้ส้นเท้า ส่วนอีกข้างหนึ่งกดลงบนหัวเขา ค่อย ๆ นวดกล้ามเนื้อที่เป็น
ตะคริวให้ทุเลาลง
ตะคริวที่กล้ามเนื้อน่อง ให้ผู้ช่วยเหลือจับขาข้างที่เป็นตะคริวของผู้ป่วยเหยียดออก และค่อย ๆ
ยกเท้าขึ้น ขณะเดียวกันให้ดันปลายเท้าเข้าหาตัวของผู้ป่วย ต่อจากนั้นจึงนวดบริเวณน่องอย่างเบา ๆ
ตะคริวที่กล้ามเนื้อเท้า ให้เหยียดนิ้วเท้าของผู้ที่เป็นตะคริวออก และช่วยให้ลุกขึ้นยืนเขย่งเท้า
จากนั้นค่อย ๆ นวดบริเวณเท้าข้างที่เป็นตะคริว
อย่างไรก็ตาม การช่วยเหลือข้างต้น เพียงแต่ช่วยบรรเทาอาการไม่ให้ผู้ป่วยเจ็บปวด
จากการเป็นตะคริวเท่านั้น ไม่ใช้การแก้ไขที่ต้นเหตุโดยตรง ดังนั้น เรามารู้ก่อนว่า ตะคริว
มีสาเหตุมาจากอะไรกันบ้าง
ยกขึ้น วางมือข้างหนึ่งไว้ใต้ส้นเท้า ส่วนอีกข้างหนึ่งกดลงบนหัวเขา ค่อย ๆ นวดกล้ามเนื้อที่เป็น
ตะคริวให้ทุเลาลง
ตะคริวที่กล้ามเนื้อน่อง ให้ผู้ช่วยเหลือจับขาข้างที่เป็นตะคริวของผู้ป่วยเหยียดออก และค่อย ๆ
ยกเท้าขึ้น ขณะเดียวกันให้ดันปลายเท้าเข้าหาตัวของผู้ป่วย ต่อจากนั้นจึงนวดบริเวณน่องอย่างเบา ๆ
ตะคริวที่กล้ามเนื้อเท้า ให้เหยียดนิ้วเท้าของผู้ที่เป็นตะคริวออก และช่วยให้ลุกขึ้นยืนเขย่งเท้า
จากนั้นค่อย ๆ นวดบริเวณเท้าข้างที่เป็นตะคริว
อย่างไรก็ตาม การช่วยเหลือข้างต้น เพียงแต่ช่วยบรรเทาอาการไม่ให้ผู้ป่วยเจ็บปวด
จากการเป็นตะคริวเท่านั้น ไม่ใช้การแก้ไขที่ต้นเหตุโดยตรง ดังนั้น เรามารู้ก่อนว่า ตะคริว
มีสาเหตุมาจากอะไรกันบ้าง
หากอาการเกิดขึ้นบ่อยครั้งหรือมีสาเหตุชัดเจน เช่น
ร่างกายสูญเสียน้ำและเกลือแร่
จากสาเหตุใดก็ตาม ควรไปพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยและแก้ไขที่ต้นเหตุโดยตรงจะดีที่สุด
ข้อมูลจาก http://health.kapook.com & http://www.mitrprasarn.comจากสาเหตุใดก็ตาม ควรไปพบแพทย์เพื่อตรวจวินิจฉัยและแก้ไขที่ต้นเหตุโดยตรงจะดีที่สุด
ตะคริวนี่ทรมานสุด ปวดทีแทบร้อง เดี๋ยวนี้พก น้ำมันนวด ของ ช้อนทองมงคล ไว้เลย นวดแล้วหายนะ ดีขึ้นด้วย
ตอบลบเคยซื้อมาลอง แล้วใช้แล้วเห็นผลดี